วันเสาร์

บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ ซีเมนต์สำเร็จ สำโรงเหนือ เทพารักษ์ ด่านสำโรง แบริ่ง ศรีด่าน ศรีนครินทร์ สุขุมวิท บางเมือง สมุทรปราการ

จำหน่ายขายและบริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์  คอนกรีตสำเร็จ ปูนเทพื้นเทคาน งานหล่อเสา เข็มเจาะ ต่างๆ ปูนซีเมนต์ตราช้าง จังหวัดสมุทรปราการ โซน สำโรงเหนือ เทพารักษ์ ซอยแบริ่ง ถนนศรีนครินทร์  สุขุมวิท ด่านสำโรง ศรีด่าน บางปูใหม่ พื้นที่ย่อยอาทิ บริเวณอิมพีเรียลเวิลด์สำโรง ซอยเหรียญ ซอยสุขุมวิท ซอยศิริคาม บิ๊กซีสำโรง โรงพยาบาลสำโรงการแพทย์ ถนนรางรถไฟเก่า สำโรงพลาซ่า โจหลุยส์สปอร์ตคัพ โรงเรียนมัธยมวัดด่านสำโรง วัดด่านสำโรง ซอยสองพี่น้อง ซอยสำโรงเหนือ สันติคาม ซอยพรสว่าง โรงแรมสวีทอินน์ ทิพวัลเทพารักษ์ กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรีบางปูใหม่ ซอยแบริ่ง โรงเรียนดรุณรัตน์ ซอยด่านสำโรง ศาลหลวงพ่อทุ่ง ศรีสุวรรณ ซอยกัญญา สำนักงานเทศบาลตำบลด่านสำโรง โรงขวด ศาลาธรรมาธารพภคุณ โรงแรมเพชรอินน์ ตลาดศรีนครินทร์ ไปรษณีย์ด่านสำโรง นิยมเคหะ โรงเรียนมหาภาพกระจาดอุปถัมภ์ ซอยสามัคคี-สำโรง ซอยศรีด่าน ศุภาลัย วิลล์ สุขุมวิท-ศรีนครินทร์ โรงเรียนอนุบาลเจริญพงศ์ โรงเรียนกระทุ่มราษฏร์อุทิศ โรงแรมดี.ซี. โรงเรียนดนตรีราชพฤกษ์  โซนด้านซ้ายตัดถนนศรีนครินทร์ ฝั่งใต้ถนนเทพารักษ์ระหว่างถนนกาญจนาภิเษก  เทพารักษ์วิลเลจ หมู่บ้านร่มโพธิ์2 ภัทรนิเวศน์ เด่นทอง โรงพยาบาลจุฬารัตน์4 ตลาดเทพประทาน(หนามแดง) ล้วนพฤษา หมู่บ้านนันทวัน ตลาดสดศรีเทพา สำนักงานจัดหางาน จ.สมุทรปราการ ซอยร่มโพธิ์ ซอยชวาล ซอยที่ดินทอง ซอยหมู่บ้านทหารเรือ หมู่บ้านสกุลไพศาล หมู่บ้านภัทรนิเวศน์ ซอยยามาโมโต้ หมู่บ้านเที่ยวฟ้าวิลล่า หมู่บ้านเสรีวิลล่า นันทวรุณ ซอยนันทลัดดา หมู่บ้านธนาภิรมย์ศรีนครินทร์  หมู่บ้านพัฒนาสุข หมู่บ้านสุภาวัลย์ หมู่บ้านทรัพย์ดินทอง หมู่บ้านศรีเจริญวิลล่า ซอยสราลี ซอยมหามงกุฏ ซอยเพชรวินีรย์ นารายณ์รักษ์3 หมู่บ้านสยามนิเวศน์ ซอยมณฑาทิพย์ อบต.เทพารักษ์ โรงเรียนสุขเจริญผล หมู่บ้านพัดชา สำหรับงานเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ โซนต.เทพารักษ์ สมุทรปราการ ได้แก่ วัดไตรสามัคคี โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ โรงเรียนเซนต์โยเซฟทิพวิล โรงพยาบาลจุฬารัตน์2 ซอยภานุวงษ์ ซอยอภิชาติ หมู่บ้านนรินทร์ทอง หมู่บ้านทัพวิล หมู่บ้านทวีทอง โรงเรียนเทพศิรินทร์สมุทรปราการ โรงเรียนบางเมืองอนุสรณ์เขียนผ่องอนุสรณ์ ถนนประดิษฐ์สโมสร พฤกษาทาวน์ สขุมวิท-เทพารักษ์ โรงเรียนสิรวุฒิวิทยา โรงพยาบาลจุฬาเวช สำโรงเหนือ หมู่บ้านศรีเพชรการเคหะ หมู่บ้านเปรมฤทัย ศรีนครินทร์  หมู่บ้านเรวัตินิเวศน์ โรงแรมสตาร์อิน ซอยเทวา หมู่บ้านหมอเสนอ บางปูใหม่ ตลาดนัดทวีทอง ศาลเจ้าพ่อขุนด้านเจ้าพ่อเสือ ฮีโน่ประเทศไทย เด็นโซ่ประเทศไทย

สามารถตรวจสอบพื้นที่การให้บริการคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ หรือจองคิว เช็คราคา และสั่งซื้อได้ คลิกที่นี้

กำลังอัดคอนกรีต(Cube)และ(Cylinder) ที่ 180,210,240,280,300,320,350,380,400

วันอังคาร

ขายปูนมิกซ์ คอนกรีตผสมเสร็จ ซีเมนต์ผสมเสร็จ บางเสาธง บางบ่อ สมุทรปราการ คลองด่าน บางนา บางปะกง สุขุมวิท เทพารักษ์ เคหะบางพลี

จำหน่ายคอนกรีต บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซ์มิกซ์ เทพื้นซีเมนต์ หล่อเสา คาน งานคอนกรีตต่างๆ โดยปูนซีเมนต์ตราช้าง จังหวัดสมุทรปราการ เขตพื้นที่อำเภอบางเสาธงและบางบ่อ 11ตำบลกับ 112 หมู่บ้าน คลองด่าน คลองสวน บางเพรียง บางพลีน้อย บ้านระกาศ ศรีษะจระเข้น้อย-ใหญ่ ถนนเทพารักษ์ ถนนเคหะบางพลี บางนา-บางปะกง ถนนกรุงเทพ-ชลบุรี ถนนรัตนราช สุขุมวิท

กำลังอัดคอนกรีต(Cube)และ(Cylinder) ที่ 180,210,240,280,300,320,350,380,400

ต้องการใช้คอนกรีตผสมเสร็จ สอบถามเพิ่มเติมโทร. คลิกที่นี้

ท่านสามารถเลือกกำลังอัดได้ตามความเหมาะสมแนะนำ จาก ตารางแนะนำการเลือกใช้กำลังคอนกรีตผสมเสร็จ


ตรวจสอบพื้นที่ให้บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ ปูนซีเมนต์ผสมเสร็จ รถโม่เล็ก-ใหญ่ ตามข้อมูลด้านล่างนี้

วันอาทิตย์

บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ ปูนผสมเสร็จเทพื้น พื้นที่บางพลี บางปู บางปลา แพรกษา เทพารักษ์ บางนา กิ่งแก้ว หนองปรือ สมุทรปราการ

จำหน่าย ขาย บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ ปูนซีเมนต์เทพื้นเทคาน งานหล่อเสา เข็มเจาะ งานคอนกรีตซีเมนต์ต่างๆ ใช้ปูนซีเมนต์ตราช้าง ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 6ตำบลและ83หมู่บ้าน ในเขตอำเภอบางพลี ทั้งเส้นถนนเทพารักษ์ ถนนกิ่งแก้ว และบริเวณโดยรอบสนามบินสุวรรณภูมิ ตลอดจนรับเทคอนกรีตผสมเสร็จ บางนา บางปู บางปลา แพรกษา บางพลีใหญ่ หนองปรือ ราชาเทวะ บางแก้ว บางโฉลง

กำลังอัดคอนกรีต(Cube)และ(Cylinder) ที่ 180,210,240,280,300,320,350,380,400

ทั้งนี้หากสนใจเทคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ สามารถโทรสอบถามราคาและเช็คคิวจองคอนกรีตที่ได้ที่ คลิกที่นี้

*หากยังไม่ทราบกำลังอัดที่เหมาะสมสำหรับการใช้งาน สามารถดู ตารางแนะนำการใช้งานคอนกรีต คลิก!ก่อนการตัดสินใจเลือกกำลังอัดคอนกรีตที่เหมาะสม หรือสอบถามเจ้าหน้าที่

ทั้งนี้สามารถตรวจสอบพื้นที่การให้บริการเทคอนกรีตผสมเสร็จโดยละเอียดด้วยตัวท่านเองได้จากข้อมูลด้านล่าง

การให้บริการคอนกรีตผสมเสร็จ ปูนมิกซ์ โซน บางพลี สมุทรปราการ (ถนนบางนา-ตราด) ฝั่งตะวันตกของถนนกาญจนาภิเษก : หมู่บ้านปรีชา หมู่บ้านลดาวัลย์ หมู่บ้านเลคไซค์วิลล่า ซอยศรีด่าน ซอยพัฒนา  ถนนบ้านนครินทร์ หมู่บ้านมงคล หมู่บ้านสายรุ้ง ปลัดเปรียง โรงเรียนวัดหนามแดง Ikea Bang(ไอคีย์ บางนา) หอประชุมคุรุสภา หมู่บ้านสวนลาชาล โรงพยาบาลศิศรินทร์ วัดคลองปลัดเปรียง หมู่บ้านศุภาลัย วิลล์ กิ่งแก้ว-ศรีนครินทร์ โรงเรียนนานาฃาติคอนคอร์เดียน เมกาบางนา โรงเรียนแก้วประชาสรรค์ บางเพรียง

วันอังคาร

การซ่อมเสาและปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการซ่อมเสาคอนกรีต (Repair of Concrete Columns & Column Repair Parameters)

การซ่อมเสาคอนกรีต (Repair of Concrete Columns)
     ในการซ่อมเสาคอนกรีตควรคำนึงถึงแรงกดที่กระทำต่อเสานั้น โดยทั่วไปแล้วแรงกระทำในเสาจะประกอบด้วย แรงในแนวดิ่ง แรงทางด้านข้าง และแรงที่เกิดจากโมเมนต์ นอกจากนี้ยังจะต้องพิจารณาทั้งน้ำหนักคงที่ของตัวโครงสร้างเอง และน้ำหนักบรรทุกจร

1.ประเภทของการซ่อมเสาคอนกรีต
     การซ่อมเสาคอนกรีตแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ (1) การซ่อมผิวหรือการซ่อมเพื่อความสวยงามใช้เพื่อจัดการกับความเสียหายเฉพาะจุด และ (2) การซ่อมเพื่อเพิ่มกำลังใช้เพื่อเสริมหรือคืนกำลังการรับน้ำหนักให้แก่เสาที่เสียหาย ในกรณีที่ความเสียหายหรือผุกร่อนไม่ได้ทำให้พื้นที่หน้าตัดเสาลดลงไปมากนัก การซ่อมโครงสร้างคอนกรีตโดยวิธีทั่วไปก็สามารถใช้จัดการกับความเสียหายนี้ได้ แต่ในกรณีที่เสาชำรุดเสียหายอย่างมาก การถ่ายโอนน้ำหนักออกจากเสาเป็นเรื่องจำเป็ นเพื่อหน้าตัดทั้งหมดของเสาจะสามารถรับน้ำหนักได้ตามต้องการภายหลังการซ่อมแซมเสาเสร็จสมบูรณ์แล้ว

2.วิธีการซ่อมแซมเสา การซ่อมแซมเสามีด้วยกันหลายวิธี ขึ้นอยู่กับลักษณะของความเสียหาย เช่น
     2.1 ขยายหน้าตัดเสาให้ใหญ่ขึ้น
     2.2 เพิ่มการโอบรัดด้วยแผ่นเหล็ก เส้นใยคาร์บอนหรือเส้นใยแก้ว
     2.3 เพิ่มปลอกรับแรงเฉือน เพื่อเพิ่มกำลังรับแรงเฉือน
     2.4 ปะกับด้วยแผ่นเหล็ก เพื่อเพิ่มกำลังรับโมเมนต์ดัด
     2.5 เพิ่มจำนวนเสา
     2.6 ใช้ระบบป้องกันต่างๆ เพื่อไม่ให้เกิดการกัดกร่อนเพิ่มเติมในอนาคต

วันอาทิตย์

คำศัพท์ คำนิยาม เกี่ยวกับคอนกรีต และสารประกอบอื่น ที่ควรรู้จัก

คำศัพท์ คำนิยาม เกี่ยวกับคอนกรีต อาการ และสารประกอบอื่น ที่ควรรู้จัก 

1.“การกัดกร่อน (Corrosion)” หมายถึง การที่โลหะถูกทำลายโดยการกัดกร่อนทางเคมี ทางการแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าในปฏิกริยาเคมี การเกิดปฏิกริยาทางไฟฟ้าในการแลกเปลี่ยนประจุกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว

2.“การซ่อมแซม (Repair)” หมายถึง การเปลี่ยนหรือการแก้ไข ส่วนของโครงสร้างที่ถูกทำลายหรือเสียหาย

3.“การซ่อมแซมส่วนที่เป็นโครงสร้างหลัก (Structural Repair)” หมายถึง การซ่อมแซมโครงสร้างที่มีการทำขึ้นมาใหม่หรือการเสริมเพิ่มให้โครงสร้างมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น

4.“การซ่อมแซมส่วนที่ไม่เป็นโครงสร้างหลัก (Non-Structural Repair)” หมายถึง การซ่อมแซมเฉพาะส่วนที่เสียหายที่ไม่มีผลกระทบกับความแข็งแรงของโครงสร้างหลัก

5.“การดาด (Lining)” หมายถึง การปรับปรุงผิวของโครงสร้างด้วยคอนกรีตหรือวัสดุอื่นๆ เพื่อให้เกิดผิวที่คงตัวแข็งแรงหรือสามารถทนการกัดกร่อนขัดสีจากการไหลผ่านของน้ำ

6.“การป้องกันความชื้น (Damp Proofing)” หมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้น้ำผ่านหรือซึมผ่านคอนกรีตหรือปูนมอร์ต้าร์ เช่น การผสมสารผสมเพิ่ม (Admixture) หรือปรับปรุงคุณสมบัติของปูนซีเมนต์ การสร้างฟิล์มกันชื้นด้วยการใช้แผ่นพอลิเอทธิลีน (Polyethylene) ปูรองพื้นก่อนเทพื้นคอนกรีต

แสดงขั้นตอนการสกัดคอนกรีตและการเตรียมพื้นผิว

ภาพแสดงขั้นตอนการสกัดคอนกรีตและการเตรียมพื้นผิว

การติดตั้งคํ้ายันชั่วคราว
1.การติดตั้งค้ำยันชั่วคราว โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของวิศวกร


สรุป! ขั้นตอนการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต

สรุป ขั้นตอนการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต
     ความรู้พื้นฐานที่จำเป็น คือการประเมินสภาพคอนกรีตที่ถูกต้องและการซ่อมแซมที่ถูกต้องเหมาะสมกับสภาพที่เสียหาย เพื่อให้โครงสร้างคอนกรีตใช้งานต่อได้ยาวนาน เมื่อพบเห็นโครงสร้างคอนกรีตที่แสดงอาการเสียหายหรือพบข้อบกพร่องผู้ตรวจสอบจะต้องค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของข้อบกพร่องนั้น เนื่องจากอาการที่พบเห็นอาจไม่เกี่ยวข้องกับสาเหตุของความเสียหายที่เกิดขึ้น เช่น ถ้าพบรอยร้าวที่ผิวคอนกรีตซึ่งแสดงว่าคอนกรีตอยู่ในสภาพอันตรายหรือไม่ปกติ แต่สาเหตุที่ทำให้คอนกรีตแตกร้าวมีได้หลายสาเหตุเช่น การหดตัวจากผิวที่ขาดน้ำ (Drying Shrinkage) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างเป็นวัฎจักร (Thermal Cycling) การรับน้ำหนักบรรทุกเกินขีดจำกัด การกัดกร่อนของเหล็กเสริมภายในคอนกรีต การออกแบบและก่อสร้างที่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน เป็นต้น ดังนั้นเมื่อได้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุที่คอนกรีตเสียหายได้ถูกต้องแล้วจึงมีการเลือกระบบการซ่อมแซมที่เหมาะสมและทำการซ่อมแซมต่อไป ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1 กระบวนการการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต

วิธีการทำแนวและอุดแนวบริเวณรอยร้าว (Routing และ Sealing) สำหรับการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อให้รับน้ำหนักได้ดังเดิม

การทำแนวและอุดแนวบริเวณรอยร้าว (Routing และ Sealing)

     วิธีการนี้ประกอบด้วยการทำแนวตามรอยร้าวให้มีขนาดใหญ่กว่ารอยร้าวที่ปรากฎอยู่และอุดแนวนั้นด้วยวัสดุที่เหมาะสมดังรูปที่ 1 หากไม่ทำแนวอาจทำให้การซ่อมได้ผลไม่ถาวร วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดและใช้มากสำหรับการซ่อมรอยร้าวที่หยุดขยายตัวแล้ว และรอยร้าวที่อยู่ระดับตื้น (รอยร้าวลึกไม่ถึงระดับเหล็กเสริม)

1.วัสดุ
1.1 วัสดุ ให้เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติ อีพอกซีเรซิน หรือ ซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หดตัว
1.2 วัสดุปิดแนวที่ใช้อาจเลือกใช้ประเภทไหนก็ได้ขึ้นอยู่กับความแน่นหรือความคงทนถาวรที่ต้องการ ประเภทที่นิยมใช้คือส่วนประกอบของ อีพอกซีเรซิน
1.3 วัสดุปิดแนวแบบเทขณะร้อนเหมาะที่สุดสำหรับกรณีที่ไม่จำเป็นต้องซ่อมแนวรอยแตกเพื่อให้ทึบน้ำหรือให้มีความสวยงาม
1.4 การใช้สารประเภทยูเรเทน พบว่าเหมาะสำหรับรอยร้าวขนาดกว้างถึง 19 มิลลิเมตร(EM 1110-2-2002) และลึกพอสมควร เพราะเป็นวัสดุที่คงความยืดหยุ่นอยู่ได้ในช่วงอุณหภูมิที่ต่างกันมาก

วิธีการอัดฉีดด้วยซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หดตัว (Nonshrink Cement for Grouting) สำหรับงานซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อรับน้ำหนักได้ดังเดิม

การอัดฉีดด้วยซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หดตัว (Nonshrink Cement for Grouting)

1.วัสดุและอุปกรณ์การอัดฉีด
     1.1 วัสดุ ให้เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติตามหัวข้อ วัสดุประเภทที่มีส่วนผสมของซีเมนต์ : ซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หัวตัว
     1.2 อุปกรณ์การอัดฉีด หรือเครื่องสูบ (Pump)เครื่องสูบที่ใช้ในการอัดฉีดมีหลายประเภท เช่น เครื่องสูบแบบ Positive-Displacement หรือ เครื่องสูบแบบลูกสูบ (Piston Pump) รายละเอียดอุปกรณ์การอัดฉีดคลิก!

2.การใช้งานและข้อจำกัด
     2.1 ซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หดตัวอาจใช้เพื่อซ่อมรอยร้าวที่หยุดขยายตัว หรือเพื่อยึดคอนกรีตที่เทแต่ละครั้ง และหรือเพื่อเติมช่องว่างบริเวณรอบ ๆ หรือใต้โครงสร้างคอนกรีต ซีเมนต์เกร้าท์ชนิดไม่หดตัวมักจะมีราคาถูกกว่าสารเคมีสำหรับการเทซ่อมและเหมาะสำหรับการใช้งานในปริมาณมาก

วันเสาร์

วิธีการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อให้รับนํ้าหนักได้ดังเดิม : ประเภทของรอยร้าวและวิธีการซ่อมแซม

วิธีการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อให้รับนํ้าหนักได้ดังเดิม
ประเภทของรอยร้าวและวิธีการซ่อมแซม
รอยร้าวโดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ รอยร้าวที่ยังคงมีการขยายตัวอยู่ และรอยร้าวที่หยุดการขยายตัวแล้ว การเลือกวิธีการซ่อมแซมที่เหมาะสมสำหรับรอยร้าวแต่ละประเภทแสดงไว้ในรูปที่ 1 และ 2 อนึ่ง การตัดสินว่าโครงสร้างต้องมีการปรับปรุงให้รับน้ำหนักได้ดังเดิมหรือไม่ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ วิศวกร โดยให้เป็นไปตามหลักวิศวกรรม และให้มีความมั่นคงปลอดภัยเพียงพอในการใช้งาน

รูปที่ 1 การเลือกวิธีการซ่อมแซมที่เหมาะสมสำหรับรอยร้าวที่ยังคงมีการขยายตัวอยู่

ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุในงานซ่อมแซม โครงสร้างคอนกรีต

ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุในงานซ่อมแซม โครงสร้างคอนกรีตผสมเสร็จ

1.ความมีเสถียรภาพด้านขนาด (Dimensional Stability)
      นอกเหนือจากที่วัสดุในงานซ่อมจะต้องมีกำลังทางกล และความทึบแน่นตามที่ต้องการแล้วจำเป็นที่จะต้องมีเสถียรภาพในด้านมิติด้วย ความสามารถในการยึดเกาะจะเป็นตัวทำให้วัสดุซ่อมและคอนกรีตมีสภาพเหมือนวัตถุเดียวกัน หากวัสดุซ่อมและคอนกรีตไม่สามารถรักษาสภาพความเป็นหนึ่งเดียวกันไว้ได้ย่อมเกิดการเสียหายขึ้นก่อนเวลาอันควร เนื่องจากวัสดุซ่อมที่ทำจากปูนซีเมนต์จะมีการหดตัวหลังจากใช้งานในขณะที่คอนกรีตซึ่งใช้งานมานานแล้วแทบจะไม่มีการหดตัวเกิดขึ้นอีก ดังนั้นวัสดุที่ใช้ซ่อมจึงจำเป็นต้องมีการหดตัวที่ต่ำมากหรือต้องสามารถที่จะหดตัวได้ในขณะที่ไม่เสียการยึดเกาะ การหลีกเลี่ยงการสูญเสียการยึดเกาะเนื่องจากการหดตัวเกิดสามารถทำได้ 2 แนวทางด้วยกันคือ
          1.1 ใช้วัสดุซ่อมที่มีอัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ต่ำ หรือใช้วิธีการซ่อมที่ทำให้เกิดการหดตัวต่ำที่สุด
          1.2 ใช้วัสดุที่มีการขยายตัวในขณะที่ผสมและเท

2.ค่าสัมประสิทธ์ิการขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิ (Coefficient of Thermal Expansion)
     ค่าสัมประสิทธิ์ดังกล่าว คือ การเปลี่ยนแปลงความยาวของวัสดุที่เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิขนาดการยืดหรือหดตัวของวัสดุจะขึ้นอยู่กับค่าสัมประสิทธ์ินี้ เมื่อมีการซ่อมโดยการปะหรือการเททับที่มีพื้นที่ซ่อมขนาดใหญ่หรือลึก มีความจำเป็นมากที่ต้องพิจารณาเลือกใช้วัสดุซ่อมแซมที่มีค่าสัมประสิทธ์ิการขยายตัวใกล้เคียงกับค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัวของคอนกรีต(ค่าสัมประสิทธ์ิการขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิของคอนกรีตมีค่าประมาณ 7x10-6 ถึง 11x10-6 ต่อองศาเซลเซียสต่อมิลลิเมตร) มิฉะนั้นจะทำให้เกิดการวิบัติขึ้นในวัสดุที่มีกำลังต่ำกว่าใกล้แนวการยึดเกาะ

วิธีการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อรับน้ำหนักได้ดังเดิม : การอัดฉีดด้วยอีพอกซีเรซิน

วิธีการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตเพื่อรับน้ำหนักได้ดังเดิม ขั้นตอนการอัดฉีดด้วยอีพอกซีเรซิน

1.วัสดุและอุปกรณ์
     สารอีพอกซีเรซิน เป็นสารซึ่งประกอบด้วยสารละลายสองชนิดขึ้นไปที่ทำปฏิกิริยาแล้วทำให้เกิดเจลหรือตะกอนแข็ง อีพอกซีเรซินเมื่อแข็งตัวแล้วจะมีกำลังรับน้ำหนักและค่าโมดูลัสสูงและยึดเกาะกับคอนกรีตเดิม
     1.1 วัสดุ ให้เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติตามหัวข้อ สารเคมีที่ใช้ในการอัดฉีด
     1.2 อุปกรณ์ผสมสารอัดฉีด
     อุปกรณ์ผสมสารอัดฉีดโดยทั่วไป ทำด้วยวัสดุที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีที่ใช้อัดฉีดหรือ สารละลายแต่ละชนิดที่ใช้ ส่วนประกอบของตัวถังสามารถเลือกใช้วัสดุอลูมิเนียม สแตนเลส หรือพลาสติกชนิดพิเศษได้ตามความเหมาะสม โดยทั่วไปความจุของถังที่ต้องการจะไม่มากนัก โดยขนาดและรูปร่างของถังจะขึ้นอยู่กับปริมาณส่วนผสมและระบบการฉีดที่ใช้ โดยทั่วไปถังที่ใช้ในการผสมอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบหลัก ได้แก่ ระบบผสมรวม (Batch System) ระบบผสมแบบสองถัง (Two-Tank System) และระบบ Equal-Volume Method ดูอุปกรณ์ผสมสารอัดฉีดคลิก!
      1.3 อุปกรณ์การอัดฉีด หรือเครื่องสูบ (Pump)
      เครื่องสูบที่ใช้ในการอัดฉีดมีหลายประเภท เช่น เครื่องสูบแบบ Positive-Displacement หรือ เครื่องสูบแบบลูกสูบ (Piston Pump) ดูอุปกรณ์การอัดฉีดหรือเครื่องสูบคลิก!

วันศุกร์

การซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต : การทดสอบการยึดเกาะระหว่างคอนกรีตเก่ากับวัสดุซ่อมแซม

การทดสอบการยึดเกาะระหว่างคอนกรีตเก่ากับวัสดุซ่อมแซม

1 ในการซ่อมแซมคอนกรีตสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงคือการยึดเกาะระหว่างคอนกรีตเก่ากับวัสดุซ่อมแซม ถ้าการยึดเกาะไม่ดีจะทำให้การซ่อมแซมไม่ประสบความสำเร็จ ดังนั้นก่อนติดตั้งวัสดุซ่อมแซมจึงจำเป็นต้องทาหรือเคลือบผิวคอนกรีตเก่าด้วยน้ำยาประสานคอนกรีตโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการสั่นสะเทือนสูงพื้นที่ที่มีอากาศหรือของไหลผ่านด้วยความเร็วสูง เป็นต้น และภายหลังการซ่อมแซมแล้วเสร็จให้ทดสอบการยึดเกาะของคอนกรีต (Pull-Off test) ตามมาตรฐาน ASTM D-4541 ดังรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 3 (โดยปกติควรทดสอบไม่น้อยกว่า 1 จุด ต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตรและอย่างน้อย 3 จุดต่องานซ่อม หรือขึ้นอยู่กับดุลพินิจของวิศวกรควบคุมงาน) (ค่าหน่วยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างวัสดุใหม่และวัสดุเก่าควรมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของกำลังรับแรงอัดประลัยของคอนกรีตเดิม)

วัสดุที่ใช้ในการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต : ประเภทวัสดุเคลือบผิวเหล็กเสริม และวัสดุเสริมกำลัง(Reinforcement)

วัสดุที่ใช้ในการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต 

วัสดุเคลือบผิวเหล็กเสริม (Coatings on Reinforcement)
     สารเคลือบผิวเหล็กเสริมคือสารเคลือบผิวประเภทอีพอกซี ลาเทกซ์ ซีเมนต์ และสังกะสีซึ่งข้อจำกัดในการใช้งานสำหรับวัสดุเคลือบผิวเหล็กเสริมแต่ละชนิดมีแตกต่างกันไป (มีผลงานวิจัยในห้องปฏิบัติการ แต่อยู่ในระหว่างการศึกษาประสิทธิภาพและศักยภาพในการใช้งานจริงและผลกระทบในระยะยาวนอกจากนี้ เมื่อเคลือบผิวแล้วจะไม่สามารถตรวจสอบการกัดกร่อนของเหล็กเสริมภายในได้ด้วยวิธีมาตรฐานทั่วๆไป และเนื่องจากมีข้อจำกัดในการใช้งาน สำหรับวัสดุเคลือบผิวเหล็กเสริมแต่ละชนิด ดังนั้นจึงควรปรึกษาผู้ผลิตวัสดุเคลือบผิวเหล็กเสริม)

วัสดุเสริมกำลัง (Reinforcement)
โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างคอนกรีตจำเป็นต้องใช้วัสดุเสริมกำลังเพื่อต้านทานหน่วยแรงดึงที่เกิดจากแรงดัด แรงเฉือน และแรงตามแนวแกน วัสดุเสริมกำลังที่ใช้ในงานซ่อมแซมมีหลากหลายประเภท ดังนี้

อุปกรณ์สำหรับงานซ่อมแซมหรือเพิ่มส่วนผสมโครงสร้างคอนกรีต : ถังที่ใช้ในการผสม และอุปกรณ์การอัดฉีด

ถังที่ใช้ในการผสม และอุปกรณ์การอัดฉีด

1.ถังที่ใช้ในการผสม (Mixing and Blending Tank)
     ถังที่ใช้สำหรับผสมสารอัดฉีด ดังรูปที่ 1 ควรทำด้วยวัสดุที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีที่ใช้อัดฉีด หรือสารละลายแต่ละชนิดที่ใช้ ส่วนประกอบของตัวถังสามารถเลือกใช้วัสดุอลูมิเนียม สแตนเลส หรือพลาสติกชนิดพิเศษได้ตามความเหมาะสม โดยทั่วไปความจุของถังที่ต้องการจะไม่มากนัก โดยขนาดและรูปร่างของถังจะขึ้นอยู่กับปริมาณส่วนผสมและระบบการฉีดที่ใช้ โดยทั่วไปถังที่ใช้ในการผสมอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบหลัก ได้แก่ระบบผสมรวม (Batch System) ระบบผสมแบบสองถัง (Two-Tank System) และระบบ Equal-Volume Method

1.1 ระบบผสมรวม (Batch System)
     ระบบผสมรวม เป็นระบบผสมสารที่ง่ายที่สุด ซึ่งใช้มากในกรณีอัดฉีดด้วยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ โดยส่วนประกอบทั้งหมด รวมทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาจะผสมรวมกันในถังเดียว ณ เวลาเดียวกัน ระบบนี้มีข้อเสีย คือ ระยะเวลาการอัดฉีดจะจำกัดด้วยช่วงเวลาการก่อตัวของเจล ถ้ามีการก่อตัวของเจลก่อนที่การอัดฉีดจะเสร็จสิ้น เครื่องสูบ ท่อและช่องทางการไหลอาจเกิดการอุดตันได้

รูปที่ 1 ถังที่ใช้สำหรับผสมสารของการอัดฉีด